Peace Journalism : สื่อสันติภาพ By ProfJakeLynch

Peace Journalism : สื่อสันติภาพ By ProfJakeLynch

บทสัมภาษณ์ : เจค ลินช์ ผอ.สถาบันสันติภาพและความขัดแย้งศึกษา มหาวิทยาลัยซิดนีย์ ออสเตรเลีย
 

หลักการของ Peace Journalism (สื่อเพื่อสันติภาพ)

“Well, Peace Journalism is intended to provide opportunities for reason audiences to consider and value non-violence responses conflict. So it represents conflict as a center problem to be result. It did not represent conflict as a false of one party. It reviews a process leading up to the violence events in the conflict. So it’s an able people to see how that process would be diverse in the way from violence.”

สื่อสันติภาพตั้งใจที่จะเปิดโอกาสให้ผู้ฟังที่ใช้เหตุใช้ผลพิจารณาและเห็นคุณค่าของการหาทางออก(ตอบสนอง)โดยไม่ใช้ความรุนแรง  ดังนั้นสื่อสันติภาพแสดงให้เห็นว่าความขัดแย้งเป็นปัญหาหลักที่จะมีผลตามมา สื่อสันติภาพไม่ได้บอกว่าความขัดแย้งเป็นผลมาจากกลุ่มใดกลุ่มกลุ่มหนึ่ง แต่เป็นการตรวจสอบถึงกระบวนการที่นำไปสู่เหตุการณ์ความรุนแรงของความขัดแย้งที่เกิดขึ้น มันทำให้คนเห็นว่ามีทางเลือกอื่นๆอย่างไรได้บ้างนอกจากการใช้ความรุนแรง 

 

สื่อไทยกับ Peace Journalism 

I read a news …. Or research by my friend Professor waluckkamon Chankamul of Princes Sonkla University in Pattani. And she analyze the performance of Thai media and attitudes of Thai journalists to all peace journalism. And she found some appetite for peace journalism and she found the thai media were doing some peace journalism. But her study showed the same as a lot of study show that when you analyze media coverage the majority is war journalism. But there is some peace journalism. So, I say there’re could be more. And that’s the idea of training. That’s the idea of forming networks of journalists to help each other to do peace journalism. To try to increase that performance of peace journalism instead of war journalism.

ผมอ่านงานวิจัยของ อ.วลักษณ์กมล จ่างกมล ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ซึ่งเป็นเพื่อนของผมเอง เธอวิเคราะห์ถึงพฤติกรรมและทัศนคติของผู้สื่อข่าวไทยเกี่ยวกับสื่อสันติภาพ แล้วเธอก็พบว่าผู้สื่อข่าวไทยยังมีความปรารถนาที่จะทำสื่อสันติภาพ และสื่อในไทยก็มีการทำสื่อในแนวทางสื่อเพื่อสันติภาพอยู่บ้าง แต่งานวิจัยของเธอก็แสดงให้เห็นว่าสื่อส่วนใหญ่ก็ยังคงเป็นสื่อเพื่อสงครามอยู่ ซึ่งก็คล้ายๆกับผลของงานวิจัยหลายๆอัน แต่มันก็ยังพอมีสื่อเพื่อสันติภาพอยู่บ้าง ดังนั้นผมคิดว่ามันน่าจะมีเพิ่มขึ้นอีก และนี้ก็เป็นเหตุผลที่เรามาฝึกเขียนข่าวสันติภาพกัน นี้ก็เป็นไอเดียที่จะช่วยสร้างเครือข่ายผู้สื่อข่าวเพื่อช่วยกันทำสันติภาพให้เกิดขึ้น

 

แนวทางแบบ Peace Journalism จะช่วยกรณีความรุนแรงในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ ได้อย่างไรบ้าง

Well, the dominate form of conflict reporting in most media most of the time is war journalism. War journalism concentrates on a serious of violence event. So, it represents a conflict as a big bang of the big bang of the big bang. Now the impression therefore, that is receive by reason audiences. Overtime is the that’s all it’s happening in the conflict reason to it. Peace journalism would inquire into why people are taking past in the conflict. What are the underlying issues? The drive that participation. What do they want?

Statements of aims by insurgent groups in the southern provinces of Thailand are rare but we do know from the YouTube video list release lasted year about the BRN that they want to be liberated. They want to be a liberation moved. Question is what do they want to be liberated from? And why? These are the kind of question the peace journalism would bring back into the story and they would an able people to appreciate the potential to address those issues in way other than by using violence. So, overtime if there was more peace journalism in Thai media about the conflicted in the deep south of Thailand. It would provide the public with the opportunity to consider and value non – violence responses about conflict. And in doing so, I believe it would make those violence responses seem more fusible and more possible and raise them up in general.

การรายงานปัญหาความขัดแย้งในสื่อส่วนใหญ่มักจะเป็นการรายงานแบบสื่อเพื่อสงคราม สื่อเพื่อสงครามจะให้ความสนใจเกี่ยวกับเหตุการณ์ความรุนแรง มันจึงเป็นเสมือนตัวแทนการนำเสนอความรุนแรงต่อเนื่องไม่มีที่สิ้นสุด กลุ่มผู้ชมผู้ฟังก็ต้องรับข่าวสารแบบนี้ไป ซึ่งมันเป็นแบบนี้มาตลอดในเรื่องของความขัดแย้ง แต่ในขณะที่สื่อเพื่อสันติภาพจะพยายามสืบสวนว่าทำไมผู้คนเหล่านั้นถึงเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องในความขัดแย้ง อะไรเป็นประเด็นที่อยู่ภายใต้ความขัดแย้งนั้น แรงจูงใจในการเข้าร่วม พวกเขาต้องการอะไร

แม้จะหาจุดมุ่งหมายของการก่อความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนใต้ได้ยาก แต่เราก็ได้ดูจากคลิปของ BRN ที่ปล่อยออกมาทาง YouTube ว่า พวกเขาต้องการความอิสระ พวกเขาต้องการเคลื่อนไหวได้อย่างอิสระ คำถามคือเขาต้องการเป็นอิสระจากอะไร และทำไม นี่เป็นแนวคำถามที่สื่อสันติภาพจะนำมาใส่ในเรื่อง และทำให้ผู้คนเห็นถึงความเป็นไปได้ของแนวทางอื่นๆที่ไม่ต้องใช้ความรุนแรง ดังนั้นเมื่อมีสื่อสันติภาพในไทยเกี่ยวกับปัญหาความขัดแย้งในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้เพิ่มมากขึ้น มันจะทำให้สาธารณะได้กลับมาพิจารณาถึงคุณค่าความสำคัญของการตอบโต้ (ตอบสนอง) โดยไม่ใช้ความรุนแรง ผมเชื่อว่ามันจะทำให้การตอบสนองต่อความรุนแรงแบบนี้มีความเป็นไปได้ และมีความสำคัญมากขึ้น

author

ปฏิทินกิจกรรม EVENT CALENDAR

เข้าสู่ระบบ