คู่มือตรวจสอบโครงสร้
ข้อแนะนำจากวิ
โครงสร้างอาคารหมายถึง คาน เสา พื้น โครงหลังคาและบันได หากภายหลังเกิดแผ่นดินไหวแล้
ลักษณะ คอนกรีตเสาระเบิดขาดจากกัน
ลักษณะ อาคารที่เสียรูปทรง เอียงไปด้านใดด้านหนึ่ง
ลักษณะ อาคารที่มีสภาพภายในบิดตัว เช่น ผนังบิดตัวไม่ได้แนว พื้นเอียงลาด หรือเสาโก่ง
ลักษณะ เสาแตกเฉียงส่วนใหญ่พบบริ
ลักษณะ ตำแหน่งรอยต่อเหล็กเสริมหรื
เสาอาคารโก่งแตกมองเห็นเหล็ก
ลักษณะบริเวณคอเสาตอม่อแตกขาดออกจาากคาน
ลักษณะคอเสาแตกเฉียง และมีผนังหรือคานบริเวณเดียวกันแตกร้าว
ลักษณะคอเสาแตกเป็นกากะบาด ส่วนใหญ่จะพบบริเวณปลายเสาที่ต่อกับคาน
ลักษณะผนังและเสาอาคารแตกขาดจากกัน
ลักษณะคานแตกเฉียงเห็นรอยร้าวชัดเจน
ลักษณะผนังแตกร้าวเฉียงเป็นแนวยาว
ลักษณะเสาตอม่อเอียงออกนอกแนว อาคารทรุดตัวลง
ลักษณะอาคารยุบตัวหรือทรุกตัวลง
ลักษณะพื้นลาดเอียง หรือโก่งตัวในบางตำแหน่ง
ลักษณะพื้นชั่้นล่างบริเวณกลางบ้านโก่งตัวหรือปูดขึ้น
ลักษณะการแตกร้าวของอาคารดังภาพข้างต้น ต้องจัดให้มีการตรวจสอบเชิงลึกและทำการแก้ไขให้ถูกต้องตามหลักวิศวกรรมก่อนจึงจะใช้งานได้
ที่มาของข้อมูล : วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)