เครือข่ายนักวิชาการ 167คน ออกแถลงการณ์แสดงความไม่เห็นด้วยกับการใช้กำลังสลายการชุมนุม ชาวบ้านจะนะรักษ์ถิ่นเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 64 และเรียกร้องให้มีการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ ภายใต้หลักการมีส่วนร่วม ของประชาชน ในกรณีโครงการนิคมอุตสาหกรรมจะนะ
วันนี้ (8 ธ.ค.2564) จากกรณีการชุมนุมของกลุ่มประชาชนเครือข่ายจะนะรักษ์ถิ่น เพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลทำตามข้อตกลงกรณีปัญหานิคมอุตสาหกรรมจะนะให้ครบถ้วน ตามที่ได้รัฐบาลได้ทำบันทึกข้อตกลงไว้ เมื่อช่วงค่ำของวันที่ 6 ธันวาคม 2564 ที่ตำรวจควบคุมฝูงชน (คฝ.) ได้เข้าสลายการชุมนุมของกลุ่มชาวบ้านเครือข่ายจะนะรักษ์ถิ่น จังหวัดสงขลา ได้จับกุมชาวบ้านจะนะ จำนวนทั้งสิ้น 36 คน และมีการตั้งข้อหาฝ่าฝืนพระราชกำหนดบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548
ล่าสุด เครือข่ายนักวิชาการมีความห่วงกังวลต่อการใช้อำนาจรัฐข้างต้นและเสนอให้มีการหาทางออกร่วมกันในกรณีโครงการนิคมอุตสาหกรรมจะนะ ดังนี้
1. เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธและเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นนั้นได้รับการรับรองในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 เสรีภาพทั้งสองนั้นถือได้ว่าเป็นองค์ประกอบพื้นฐานของระบอบประชาธิปไตยในฐานะเครื่องมือที่เปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถสร้างแรงกดดันทางการเมืองการวิพากษ์วิจารณ์ การประท้วงของประชาชนที่เห็นแตกต่างจากผู้มีอำนาจรัฐหรือประชาชนส่วนใหญ่ในสังคมและการยับยั้ง ตักเตือน หรือแก้ไขข้อผิดพลาดในการตัดสินใจทางการเมือง ทำให้ประชาชนโดยเฉพาะที่ไม่มีอำนาจต่อรองทางการเมืองสามารถสร้างอำนาจต่อรองทางการเมืองได้แม้จะมีการประกาศข้อกำหนดโดยอาศัยอำนาจตามความใน มาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 แต่การชุมนุมของกลุ่มชาวบ้านเครือข่ายจะนะรักษ์ถิ่นตามที่ปรากฏนั้นเป็นไปโดยสงบและปราศจากอาวุธ ซึ่งได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ การใช้กำลังสลายการชุมนุมของเจ้าหน้าที่รัฐจึงต้องมีเหตุผลที่ชอบธรรมรองรับซึ่งมีน้ำหนักเพียงพอที่จะจำกัดเสรีภาพในการชุมนุมได้แต่จากข้อเท็จจริงที่ปรากฎยังไม่พบว่ามีเหตุผลความชอบธรรมใดในการสลายการชุมนุมข้างต้น
2. การดำเนินโครงการนิคมอุตสาหกรรมจะนะ ยังคงมีข้อสงสัยและปัญหาหลายประการที่รัฐบาลยังไม่สามารถกลายกังวลให้กับผู้คนที่ตั้งคำถามได้ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาการมีส่วนร่วมของประชาชนที่มีความหมาย(Meaningful Public Participation) ปัญหาการจำกัดสิทธิของประชาชนที่สามารถเข้าไปมีส่วนร่วมได้ในวงจำกัดซึ่งไม่ครอบคลุมประชาชนที่อาจได้รับผลกระทบตามความเป็นจริง ปัญหาความไม่ชอบธรรมในการแก้ไขผังเมืองรวมจังหวัดสงขลา ปัญหาความไม่โปร่งใสและผลประโยชน์ทับซ้อนของผู้เกี่ยวข้องกับการกำหนดโครงการรวมถึงเรื่องการเอื้อประโยชน์กับกลุ่มทุนบางกลุ่มอย่างน่าสงสัย นอกจากนี้จวบจนกระทั่งปัจจุบันยังไม่ได้มีการดำเนินการศึกษาโดยใช้แนวทางการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ (Strategic Environment Assessment Guideline – SEA) ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2563 ปัญหาข้างต้นก่อให้เกิดความขัดแย้งใหม่ระหว่างประชาชนและหน่วยงานรัฐ ซึ่งมีความจำเป็นต้องมีการสร้างความกระจ่างชัดและมีกลไกทางการเมืองในการหาทางออกจากปัญหาความขัดแย้งดังกล่าว
ด้วยเหตุผลที่กล่าวมานี้ นักวิชาการดังรายชื่อแนบท้ายจึงขอเรียกร้องให้รัฐดำเนินการ ดังต่อไปนี้
1. ขอให้หยุดดำเนินคดีโดยทันทีและไม่นำเรื่องการดำเนินคดีมาต่อรองให้ชาวบ้านหยุดการเรียกร้องเพื่อยุติโครงการนิคมอุตสาหกรรมจะนะ หากแต่ต้องอำนวยความสะดวกในการใช้เสรีภาพในการชุมนุมของประชาชนเพื่อท้วงติงและวิพากษ์วิจารณ์การดำเนินโครงการนิคมอุตสาหกรรมจะนะ รวมถึงการเปิดพื้นที่ในการพูดคุยและเจรจากับพี่น้องประชาชนเพื่อหาทางออกจากปัญหาดังกล่าวอย่างสันติ
2. ขอให้ดำเนินการจัดการศึกษาโครงการการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ (SEA) ของโครงการนิคมอุตสาหกรรมจะนะ แบบมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง และดำเนินการโดยนักวิชาการที่เป็นกลางได้รับการยอมรับจากทุกฝ่าย และระงับการดำเนินโครงการนิคมอุตสาหกรรมจะนะไว้ก่อนจนกว่าจะมีการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์เสร็จสิ้นแล้ว
รายชื่อนักวิชาการ 167 คน
1. กนกรัตน์ สถิตนิรามัย คณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. กรกนก วัฒนภูมิ นักวิจัยอิสระ
3. กิตติยา พรหมจันทร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
4. กิติมา ขุนทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
5. กุสุมา กูใหญ่ คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี
6. เกาซัร อาลีมามะ –
7. เกียรติอนันต์ล้วนแก้ว นักวิชาการอิสระ
8. เกื้อ ฤทธิบูรณ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
9. ขรรค์เพชร ชายทวีป คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
10. คณิน เชื้อดวงผุย คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม
11. คมลักษณ์ ไชยยะ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
12. คอรีเยาะ มานุแช ทนายความ
13. ฆอซาลี เบ็ญหมัด นายกสมาคมมุสลิมคลองแห
14. จริยภัทร รัตโณภาส คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
15. จักเรศ อิฐรัตน์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
16. จักรสิน น้อยไร่ภูมิ
17. จารุวัจน์ สองเมือง มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
18. เจนสมุทร แสงพันธ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
19. ชญานิษฐ์ พูลยรัตน์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
20. ชญานี ณ พัทลุง ทนายความ
21. ชลิตา บัณฑุวงศ์ ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
22. ชัยพงษ์ ส าเนียง ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร
23. ชัยวัฒน์มีสันฐาน คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
24. ช านาญ จันทร์เรือง
25. โชคชัย วงษ์ตานี สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
26. ฐิตินบ โกมลนิมิ
27. ฐิตินันท์เต็งอ านวย คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
28. ณภัค เสรีรักษ์ นักวิชาการอิสระ
29. ณรงค์ฤทธิ์ สุมาลี มหาวิทยาลัยนครพนม
30. ณัฐดนัย นาจันทร์
31. ณัฐวัฒน์ กฤตยานวัช มหาวิทยาลัยบูรพา
32. ณิชา โตวรรณเกษม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
33. ณีรนุช แมลงภู่ มหาวิทยาลัยศิลปากร
34. ดรุณีไพศาลพาณิชย์กุล คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
35. ดวงมน จิตร์จ านงค์
36. ดวงยิหวา อุตรสินธุ์
37. ดารารัตน์ ค าเป็ง คณะรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
38. ดุลยรัตน์ บูยูโส๊ะ ชมรมโรงเรียนเอกชนเขตพิเศษสงขลา
39. โดม ไกรปกรณ์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
40. ตรีเนตร สาระพงษ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
41. ต่อพงศ์กิตติยานุพงศ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
42. ตัสนีม เจ๊ะตู ประธานมูลนิธิเพื่อการศึกษาและเยียวยาเด็กก าพร้า
43. ทวีลักษณ์ พลราชม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
44. ทวีศักดิ์เอื้ออมรวนิช คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
45. ทศพล ทรรศนกุลพันธ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
46. ธนภาษ เดชพาวุฒิกุล ส านักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
47. ธนมาด คุณศรีรักษ์สกุล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
48. ธนรัตน์ มังคุด คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
49. ธรรมศาสตร์โสตถิพันธุ์ สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
50. ธวัช มณีผ่อง คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
51. ธัญรดี ทวีกาญจน์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
52. ธิบดี บัวค าศรี คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
53. ธีรยุทธ ปักษา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
54. ธีรวัฒน์ ขวัญใจ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
55. ธีระพล อันมัย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
56. นนท์ปวิธ แสงเทียนประไพ
57. นพดล เดชสมบูรณ์รัตน์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
58. นพร โพธิ์พัฒนชัย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
59. นฤดล พิมพ์นนท์
60. นฤทธิ์ ดวงสุวรรณ์
61. นวพร เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
62. นัทมน คงเจริญ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
63. นาตยา อยู่คง คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
64. ทวีศักดิ์ ปิ ผู้ประสานงาน คนส.จชต.
65. นิธิ รุ่งธนาภิรมย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
66. บัณฑิต ไกรวิจิตร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
67. บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
68. บุญเลิศ วิเศษปรีชา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
69. บุศรินทร์เลิศชวลิตสกุล คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
70. บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
71. บูฆอรี ยีหมะ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
72. ปพิชญา แซ่ลิ่ม คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
73. ปวีณา แช่มช้อย คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
74. ประกาศ สว่างโชติ นักวิชาการอิสระ
75. ปรัชญา โต๊ะอิแต สื่ออิสระ
76. ปราญชลี มณีรัตน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
77. ปวีณา เผื่อนงูเหลือม
78. ปิยชาติ สึงตี
79. ปิยวรรณ ปิยะกาญจน์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
80. พนัญญา ลาภประเสริฐพร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
81. พวงทอง ภวัครพันธุ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
82. พัชร์นิยมศิลป คณะนิติศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
83. พัชราภรณ์ตฤณวุฒิพงษ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
84. พัทธ์ธีรา นาคอุไรรัตน์ สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
85. พันธุ์พิพิธ พิพิธพันธุ์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี
86. พิเชฐ แสงทอง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
87. พิกุล อิทธิหิรัญวงศ์ คณะรัฐศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
88. พิชญา บุญศรีรัตน์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
89. พิพัฒน์ สุยะ ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
90. พิสิษฏ์ นาสี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
91. พุฒิพันธุ์อภิไชยาวาทย์
92. พุทธพล มงคลวรวรรณ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยรามค าแหง
93. ไพรินทร์กะทิพรมราช คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
94. ไพลิน ปิ่นส าอางค์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
95. ภาสกร อินทุมาร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
96. มนตรา พงษ์นิล มหาวิทยาลัยพะเยา
97. มะรูฟ เจะบือราเฮง มูลนิธิดิจิทัลเพื่อสันติภาพ
98. มานพ พรหมชนะ คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาสงขลานครินทร์
99. มุนินทร์ พงศาปาน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
100. มูนีเราะฮ์ ยีด า มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
101. มูหัมมัดนาสีรูดดิน เล๊ะนุ๊ สมาคมปัญญาชนมุสลิมจังหวัดชายแดนใต้
102. มูฮัมหมัดอิลยาส หญ้าปรัง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค าแหง
103. เมธิณี อยู่เจริญ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
104. ยอดพล เทพสิทธา
105. ยาสมิน ซัตตาร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี
106. ยุกติ มุกดาวิจิตร คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
107. เยาวนิจ กิตติธรกุล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
108. รจเรศ ณรงค์ราช มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
109. ฤทธิภัฏ กัลยาณภัทรศิษฏ์
110. วริษา องสุพันธ์กุล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
111. วลักษณ์กมล จ่างกมล คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี
112. วสันต์ สรรพสุข มหาวิทยาลัยพะเยา
113. วิไลลักษณ์สุวะโซโน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
114. วิทยา อาภรณ์ ส านักวิชาพหุภาษาและการศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
115. วินัย ผลเจริญ วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
116. วิภา ดาวมณี อดีตอาจารย์ประจ า มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
117. วิรุฬห์วุฒิฤทธากุล วิทยาลัยอุตสาหกรรมสร้างสรรค์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
118. วีรดา คงธนกุลโรจน์
119. วีรบูรณ์วิสารทสกุล
120. ศรันย์ สมันตรัฐ ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
121. ศราวุฒิ อารีย์ สถาบันเอเชียศึกษา
122. ศักดา ยูเต๊ะ สภาเครือข่ายช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม ส านักจุฬาราชมนตรีศูนย์ประสานงาน กทม.
123. ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
124. ศิวศิษฐ์รัศมีจันทร์
125. ศุภศิษฏ์ทวีแจ่มทรัพย์ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
126. สมชาย ปรีชาศิลปกุล คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
127. สมหทัย หาญวัฒนะชัย
128. สมัชชา นิลปัทม์ คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี
129. สามารถ ทองเฝือ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี
130. สายฝน สิทธิมงคล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
131. สาลาม๊ะ หลงสะเตียะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
132. สินาด ตรีวรรณไชย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
133. สุไรนี สายนุ้ย คณะรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี
134. สุก าพล จงวิไลเกษม คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
135. สุจิตรา ประวงษ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
136. สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
137. สุทธิชัย งามชื่นสุวรรณ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
138. สุพัทธ์รดา เปล่งแสง คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
139. สุรินรัตน์ แก้วทอง คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
140. เสาวณีย์แก้วจุลกาญจน์ นักวิชาการอิสระ
141. เสาวนีย์จิตต์หมวด ศูนย์นโยบายโลกมุสลิม คณะเศรษฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
142. โสภิณ จิระเกียรติกุล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
143. หทัยชนก หวานสง
144. อดิศร จันทรสุข มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
145. อนันต์ ศิลปี มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
146. อนาตี บุญมาเลิศ
147. อนุสรณ์ อุณโณ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
148. อรชา รักดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
149. อรพรรณ พนัสพัฒนา คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
150. อรรถจักร์สัตยานุรักษ์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
151. อรอนงค์เบญบูรนันท์ นักวิชาการอิสระ
152. อรอนงค์ ทิพย์พิมล คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
153. อลิสา หะสาเมาะ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
154. อับดุรเราะฮหมาน มูเก็ม ศูนย์เอเชียใต้ศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
155. อับดุลสุโก ดินอะ ศูนย์อัลกุรอานและภาษา QLCC
156. อันธิฌา แสงชัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
157. อัมพร หมาดเด็น
158. อาทิตย์ ทองอินทร์
159. อาทิตย์สุริยะวงศ์กุล
160. อารยา สุขสม คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
161. อารีลักษณ์พูลทรัพย์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี
162. อุเชนทร์ เชียงเสน ส านักวิชารัฐศาสตร์และนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
163. เอกรินทร์ต่วนศิริ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี
164. เอมผกา เตชะอภัยคุณ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
165. ฮาฟีส สาและ คณะรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
166. นวพร สุนันท์ลิกานนท์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
167. สุทธิศักดิ์ดือเระ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร