อุตสาหกรรมสุขภาพของสาธารณรั ฐแห่งสหภาพพเมียนมาร์ กัมพูชา บังคลาเทศ เติบโตก้าวกระโดด โดยเฉพาะสหภาพเมียนมาร์เติบโตขึ้น 3 เท่าในปี พ.ศ. 2553-2559 คิดเป็นมูลค่าตลาดรวมกว่า 2 พันล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 70,000 ล้านบาท และจำนวนโรงพยาบาลเอกชนเพิ่มขึ้ นร้อยละ 10 ส่วนราชอณาจักรกัมพูชา ภาครัฐอัดฉีดงบประมาณสนับสนุนด้ านสุขภาพประชาชนมากถึง 271 ล้านเหรียญสหรัฐ เช่นเดียวกับบังคลาเทศ โรงพยาบาลเอกชนเติบโตขึ้นเป็ นจำนวนมาก เพื่อตอบสนองต่อความต้องการด้ านการรักษาและดูแลสุขภาพ บริษัท มินห์ วี แอดเวอร์ไทซิ่ง เซอร์วิส และ เอ็กซิบิชั่น จำกัด จึงได้ร่วมกับสมาคมผู้ ประกอบการอุปกรณ์ทางการแพทย์ และยาแห่งสหภาพเมียนมาร์ สมาคมทันตแพทย์กัมพูชา จัดงาน PHARMED EXPO 2016 หรือ งานแสดงสินค้าและนิทรรศการด้ านอุตสาหกรรมยาและอุปกรณ์ ทางการแพทย์ระดับนานาชาติ จัดขึ้นที่ สหภาพเมียนมาร์ กัมพูชา และบังคลาเทศ
กรุงเทพฯ – ดร. วิน เกียว กรรมการบริหาร สมาคมผู้ประกอบการอุปกรณ์ ทางการแพทย์และยาแห่งสหภาพเมี ยนมาร์ ดร. หยาง ดาราวุฒิ ผู้ช่วยผู้จัดการ แผนกอาหารและยา ราชอณาจักรกัมพูชา นางลัดดา มงคลชัยวิวัฒน์ รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท เอ็น.ซี.ซี. แมเนจเม้นท์ แอนด์ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด และนางสาวโรซี่ ตราง ผู้จัดการฝ่ายขาย บริษัท มินห์ วี แอดเวอร์ไทซิ่ง เซอร์วิส และ เอ็กซิบิชั่น จำกัด ได้ร่วมงานแถลงข่ าวโอกาสทองของนักลงทุนไทย- เทศในตลาดอุตสาหกรรมยาและอุ ปกรณ์ทางการแพทย์ของสาธารณรั ฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ กัมพูชา และบังคลาเทศ ภายในงาน PHARMED EXPO 2016 พร้อมด้วยผู้ประกอบการชั้ นนำจากประเทศไทยกว่า 40 ราย
Pharmed Expo งานแสดงสินค้าและนิทรรศการด้ านอุตสาหกรรมยาและอุปกรณ์ ทางการแพทย์ระดับนานาชาติ จัดขึ้นที่ สหภาพเมียนมาร์ กัมพูชา และบังคลาเทศ เป็นเวทีเจรจาธุรกิจการค้าเกี่ ยวกับอุตสาหกรรมความงามเพื่อผู้ ประกอบการภาคธุรกิจ โดยมีกำหนดจัดงาน ดังนี้MYANMAR PHARMED EXPO 2016 ครั้งที่ 4 จะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 12-14 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 เวลา 09.00-17.00 น. ณ ศูนย์แสดงสินค้าและนิ ทรรรศการเมียนมาร์ เมืองย่างกุ้ง สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ CAMBODIA PHARMED EXPO 2016 ครั้งที่ 2 ราชอณาจักรกัมพูชา จะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 4-5 กันยายน พ.ศ. 2559 ณ ศูนย์แสดงสินค้าและนิ ทรรศการไดมอนด์ ไอซ์แลนด์ กรุงพนมเปญ BANGLADESH PHARMED EXPO 2016 ประเทศบังคาเทศ จะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 18-19 ตุลาคม พ.ศ. 2559 ณ โรงแรมแพนแปซิฟิกโซนากาอน กรุงดากา ประเทศบังคลาเทศ
ดร. วิน เกียว กรรมการบริหาร สมาคมผู้ประกอบการอุปกรณ์ ทางการแพทย์และยาแห่งสหภาพเมี ยนมาร์ กล่าวว่า “ปัจจุบัน เมียนมาร์มีโรงพยาบาลอยู่ประมาณ 1,192 แห่งทั่วประเทศ แบ่งเป็นโรงพยาบาลภาครัฐร้อยละ 86 และโรงพยาบาลเอกชน ร้อยละ 14 โดยมีสัดส่วนเตียงที่ให้บริ การเพียงร้อยละ 93 และร้อยละ 7 ตามลำดับ จากจำนวนเตียงทั้งสิ้น 73,040 เตียง ขณะที่ประชากรก็ให้ความสำคัญต่ อการตรวจสุขภาพเพิ่มมากขึ้น แต่แพทย์มีอยู่เพียง 31,110 ราย อีกทั้งยังขาดแคลนยา อุปกรณ์ทางการแพทย์ ห้องปฏิบัติการ ที่จำเป็นต่อการดูแลรักษาผู้ป่ วยอีกเป็นจำนวนมาก ภาครัฐบาลจึงมีแผนการเพิ่ มงบประมาณในอัตราร้อยละ 6 จนถึงปี พ.ศ. 2563 และในปีนี้ ได้จัดการอบรมและพัฒนาบุ คลากรทางการแพทย์ 5,600 ราย และพยาบาล 1,300 ราย ให้สามารถรองรับปริมาณผู้ป่ วยหรือคนไข้ที่มีจำนวนมากได้อย่ างมีประสิทธิภาพ”
ดร. หยาง ดาราวุฒิ ผู้ช่วยผู้จัดการ แผนกอาหารและยา ราชอณาจักรกัมพูชา กล่าวว่า ราชอณาจักรกัมพูชา มีการเติบโตของจีดีพีสูงถึงร้ อยละ 7.3 จากประชากรทั้งสิ้น 15 ล้านราย กระทรวงสาธารณสุขกัมพูชา ได้รับงบประมาณเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.6 คิดเป็น 271 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 9,500 ล้านบาท) ทำให้ระบบสาธารณสุขโดยรวม ได้รับการพัฒนาไปในหลายระดั บและทั่วทั้งประเทศ ทั้งในรูปแบบ โรงพยาบาลขนาดใหญ่ ศูนย์สุขภาพประจำจังหวัด โรงพยาบาลท้องถิ่น หรืออนามัยในแต่ละพื้นที่ ทำให้ตลาดอุตสาหกรรมยา จึงเป็นที่จับตามองจากนักลงทุ นต่างชาติ เกือบร้อยละ 80 ยอดขายของอุตสาหกรรมยาอยู่ในกรุ งพนมเปญและจังหวัดใกล้เคียง และประมาณร้อยละ 55 เป็นการนำเข้ายาจากต่างประเทศ
นางลัดดา มงคลชัยวิวัฒน์ รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท เอ็น.ซี.ซี. แมเนจเม้นท์ แอนด์ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด กล่าวว่า อุตสาหกรรมสุขภาพของบังคลาเทศมี การพัฒนาและเติบโตทางด้ านเทคโนโลยีมากที่สุด ทั้งในส่วนภาครัฐและเอกชน โดยภาครัฐได้พยายามผลักดันให้ เกิดการลงทุนระหว่างผู้ ประกอบการภายในประเทศและนักลงทุ นต่างประเทศในการผลิตยาและผลิ ตภัณฑ์เพื่อการรักษาเฉพาะอย่ างหรือมีนวัตกรรมสูง ทำให้มีการใช้จ่ายเงินเพิ่มขึ้ นเป็นจำนวนมาก และมีการเติ บโตของโรงพยาบาลเอกชนที่มีคุ ณภาพเพิ่มขึ้น อาทิ โรงพยาบาลอะพอลโล โรงพยาบาลสแควร์ โรงพยาบาลยูไนเต็ด เป็นต้น โรงพยาบาลเหล่านี้ กำลังเป็นที่นิยมมาก เนื่องมาจากการให้บริการ คุณภาพการรักษา ส่งผลให้เกิดการใช้จ่ายด้านสุ ขภาพมากขึ้น รวมทั้ง เปิดโอกาสให้ผู้ส่งออกจากต่ างประเทศ อย่าง สหรัฐอเมริกา ส่งออกเครื่องมือ อุปกรณ์ทางการแพทย์ การผ่าตัด บริการต่างๆ มายังบังคลาเทศ การนำเข้าอุปกรณ์ ยาและทางการแพทย์จะมี กระบวนการทางศุลากรที่แตกต่างกั นไปตามชนิดและประเภท สำหรับยาต่อต้านมะเร็ง วัคซีน ยาเม็ดคุมกำเนิด และอื่นๆ สามารถนำเข้าได้โดยไม่เสียภาษี นอกจากนี้ อุตสาหกรรมยาและเครื่องมื อการแพทย์บังคลาเทศ กฎยังไม่เข้มงวดมากนัก เนื่องจากนโยบายต่างๆ กำลังอยู่ในขั้นตอนของการร่ างและรอการอนุมัติ
นางสาวโรซี่ ตราง ผู้จัดการฝ่ายขาย บริษัท มินห์ วี แอดเวอร์ไทซิ่ง เซอร์วิส และ เอ็กซิบิชั่น จำกัด กล่าวถึงการจัดงานครั้งนี ้ว่า “งาน PHARMED EXPO 2016 ได้รวบรวมผลิตภัณฑ์และบริการด้ านอุตสาหกรรมยาและอุปกรณ์ ทางการแพทย์อย่างครบวงจร อาทิ โรงพยาบาล ระบบตรวจสุขภาพ อุปกรณ์ด้านการแพทย์และทันตกรรม นวัตกรรมยาและการรักษา จากผู้ประกอบการชั้นนำทั่ วโลกมาจัดแสดงกว่า 80 องค์กร จาก 15 ประเทศ อาทิ จีน เยอรมัน ญี่ปุ่น มาเลเซีย สิงคโปร์ เกาหลีใต้ ไต้หวัน ไทย อินเดีย ปากีสถาน เบรารุส เมียนมาร์ กัมพูชา เวียดนาม และบังคลาเทศ คาดว่าจะมีผู้เข้าชมงานกว่า 2,000 ราย”
สำหรับผู้ที่สนใจเข้าร่วมแสดงสิ นค้าและบริการ PHARMED EXPO 2016 ณ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ราชอณาจักรกัมพูชา ประเทศบังคาเทศ สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติ มได้ที่ (+84-8) 3842 7755 หรืออีเมล์ Rosie.tran@veas. com.vn หรือเว็บไซต์