ผู้ลี้ภัยจากเมียนมาในประเทศไทย กับ ข้อเสนอแนะเชิงกฎหมายนโยบาย

ศูนย์วิจัยนวัตกรรมสังคมเชิงพื้นที่ สำนักวิชานวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จัดงานประชุมวิชาการระดับชาติด้านชายแดนศึกษาและการพัฒนาระหว่างประเทศครั้งที่ 5 ในหัวข้อ “โครงสร้าง ความสัมพันธ์เชิงอำนาจ กับทางเลือกและทางรอดของผู้คนในพื้นที่ชายแดน” เมื่อวันที่ 8-9 กันยายน 2565 มีการปักหมุดสื่อสารโดยนักข่าวพลเมืองคุณปลาย ออมสิน https://www.csitereport.com/newsdetail?id=0000026635… วงปาฐกถา “ชายแดน ทรัพยากร และความมั่งคั่ง” โดยศาสตราจารย์ยศ สันตสมบัติ จากภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในการเปิดงานประชุมวิชาการระดับชาติด้านชายแดนศึกษาและการพัฒนาระหว่างประเทศครั้งที่ 5 ณ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ศาสตราจารย์ยศ ชวนมองลึกลงไปยัง “ชายแดน” ลุ่มน้ำโขง พื้นที่ของผู้คนที่เต็มไปด้วยทรัพยากรและการสร้างความมั่งคั่ง ซึ่งนำมาสู่ “คำสาปของทรัพยากร” จากการแย่งชิงของประเทศมหาอำนาจอย่างจีน เวทีเสวนาที่น่าสนใจประเด็นหนึ่งคือ “ผู้ลี้ภัยกลุ่มต่าง ๆ ในประเทศไทยและข้อเสนอแนะเชิงกฎหมายนโยบาย” นักข่าวพลเมืองลงพื้นที่เก็บบทสนทนาจากวงทั้งเรื่อง เหตุการณ์ทางการเมืองในเมียนมาและภาพรวมปัญหาผู้ลี้ภัยในไทย โดย รศ.ดร.นฤมล ทับจุมพล ผู้ลี้ภัย/ผูั้หนีภัยสงคราม/แรงงานผิดกฎหมายตามแนวชายแดนรอบใหม่หลังเหตุการณ์รัฐประหารในเมียนมา โดย คุณสันติพงษ์ มูลฟอง ผู้ลี้ภัยในเมือง/ผู้หนีภัยจากความไม่สงบจากเมียนมา โดย คุณกรกนก วัฒนภูมิ ผู้ลี้ภัย/ผู้หนีภัยสงครามในศูนย์พักผิงชั่วคราวกลุ่มเดิมในค่าย 9 แห่ง โดย … Continue reading ผู้ลี้ภัยจากเมียนมาในประเทศไทย กับ ข้อเสนอแนะเชิงกฎหมายนโยบาย